04.08.2561 ชนเผาโอย : แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
00.
01. ขอบคุณ สำหรับภาพและข้อมูล จาก
#ขอบคุณหนังสือบันดาชนเผ่าใน สปป.ลาว
00.1
00.2
00.3
00.4
00.5
-------------------------------------------------------------------------------
02. ขอบคุณ สำหรับภาพและข้อมูล จาก
01.1 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.2 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.3 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.4 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.5 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.6 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.7 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.8 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.9 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.10 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.11 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01. ขอบคุณ สำหรับภาพและข้อมูล จาก
ห้ามเข้า" ถ้าไม่มีอนุญาตให้เข้าไปได้ ผู้ชายของชนเผ่าแต่งตัวนุ่งโสล่ง ถือกุบจอมแหลมปีกแคบ(งอบ) ส่วนหญิงสาวให้นุ่งผ้าซิ่นยาวสุดข้อเท้า ใสต่างหู การแต่งงานของชนเผ่ามีขึ้น 2 กรณีคือ พ่อแม่หาให้ และคู่บ่าวสาวเลือกกันเอง(กรณีเลือกกันเองต้องผ่านการทดสอบหลายๆอย่าง) หลังจากแต่งงานแล้วถ้าฝ่ายชาย ต้องการมีเมียเพิ่ม จะต้องเสียควายให้เมียหลวง 6 ตัว ส่วนฝ่ายหญิงที่จะมาเป็นเมียน้อยจะต้องเสียควายให้เมียหลวง 3 ตัวเป็นค่าสินสอด การคลอดลูกจะคลอดอยู่ที่หัวมุมบ้านระหว่างเตาไฟและเล้าไก่ หลังคลอดให้อยู่ไฟเป็นเวลา 3 เดือน ดื่มและอาบน้ำร้อนเท่านั้น กรณีคลอดลูกออกมาแล้วเสียชีวิต ภายใน 3 เดือนจะต้องรื้อบ้านหลังเก่าทิ้ง และย้ายไปอยู่ที่อื่น และห้ามเอาไม้และอื่นๆที่เกี่ยวข้องไปด้วยเด็ดขาด ชาวชนเผ่าโอยมีความชำนาญในเรืองหัตถกรรมจักสาน ปั้นหม้อหล่อไห เลี้ยงสัตว์ เช่น วัว ควายเพื่อใช้เป็นแรงงาน ส่วนหมู ไก่เลี้ยงไว้สำหรับพิธีกรรมเลี่้ยงผีต่างๆ
#ขอบคุณหนังสือบันดาชนเผ่าใน สปป.ลาว
00.2
00.3
00.4
00.5
01.6
-------------------------------------------------------------------------------
02. ขอบคุณ สำหรับภาพและข้อมูล จาก
โอย
.
โอย เป็นชื่อที่ใช้เรียกตนเองมาตั้งแต่อดีต และถือเป็นชื่อที่เป็นทางการมาจนถึงปัจจุบัน แต่ละหมู่บ้านจะมีชื่อเฉพาะของตนเองในแต่ละเขตพื้นที่ หรืออาจจะเป็นชื่อวงศ์ตระกูลหรือเครือญาติของชนเผ่าโดยเฉพาะ เช่น สะปวนฮอ, ลอก,กรึย, ดากกะยะ, ฮียาวกองฮาฮวย, ต่ำมอเลย ฮินดรี, จอเจิก และโฮย
.
คําวา “โอย” นั้น หมายถึงคน หรือเป็นเสียงร้องครวญครางจากการเจ็บป่วย รวมทั้งหมายถึงเสียงร้องโอยๆ ของคนขี้เกียจอีกด้วย
.
จากการบอกเล่าของสืบต่อกันมาของคนเฒ่าคนแก่ หรือผู้อาวุโสในแขวงอัตตะปือได้ข้อสรุปว่า ในจำนวน 22 หมู่บ้านของชนเผ่าโอยที่ขึ้นตรงต่อแขวงอัตตะปือ
ในปัจจุบันล้วนแล้วแต่มีประวัติความเป็นมาเฉพาะของตนเอง เช่น แต่ก่อนอาจจะตั้งภูมิลำเนาอยูที่หนองแส แล้วอพยพเคลื่อนย้ายมาอยูที่หลวงพระบาง ทุ่งไหหิน ทุ่งหลง ทุ่งหวาย รึงเงวลอกจร้อกเคลีย ตะมอกองใบ แคมเซเปี่ยน บางท่านก็ว่าชนเผ่าโอย ไปอยู่ทุ่งไหหินในฐานะเป็นเชลยศึกขุนเจือง บางท่านก็ว่าไปอยู่ในฐานะเป็นทหารเจือง
.
แต่ประวัติที่เป็นเอกภาพนั้นคือ ในจำนวนชนเผ่าโอย 22 หมู่บ้านล้วนแต่เคลื่อนย้านจากจากทุ่งไหหิน ทุ่งหลง ทุ่งหวาย เปิงภูหลวง และสุดท้ายก็ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะตามที่ดอนกลางทุ่งนา ปัจจุบันชนเผ่าโอยตั้งภูมิลำเนาอยู่ที่เมืองไชยเชษฐา สามัคคีไชย สนามไชย ในแขวงอัตตะปือ และอยู่เมืองปากช่อง แขวงจำปาสัก นอกจากอยู่ใน สปป.ลาว แล้วยังมีอยู่ที่กระแจะ เซียงแตง ประเทศกัมพูชา และในพื้นที่ภาคอีสานของประเทศไทย (สินไซ แก้วมณีวงศ์ และคณะ. 2548 : 201-205)
.
ส่วนท่านบุญไชย คำมณีวง ซึ่งเป็นอดีตประธานแนวลาวสร้างชาติ ของแขวงอัตตะปือ กล่าวว่า เนื้อแท้แล้วเผ่าโอยแต่ก่อนมีศึกท้าวเจือง มีความเจ็บปวดแสบ และสร้างบ้านเรือนอาศัยอยูตามเปิงภูหลวง อยู่ในถ้ำอยู่ในเหว แต่สมัยก่อนๆ มีความเจ็บปวด เนื่องจากไปรบแล้วหนีจากข้าศึก โดยเอาเชือกผูกดึงกันข้ามหนีข้ามแม่น้ำเซกอง ขณะพวกหนึ่งสามารถจับเชือกและข้ามน้ำไปได้แล้ว อีกพวกหนึ่งยังข้ามไปไม่ได้บังเอิญเชือกขาด เป็นเหตุให้พวกหนึ่งข้ามไปทำมาหากินอยูฝั่งกัมพูชา ส่วนพวกหนึ่งข้ามไม่ได้ ต้องอยูอาศัยตามภูตามเขา
.
และเป็นที่น่าสังเกตว่าจากสาระที่กล่าวว่าเผ่าโอยเคยเป็นเชลยศึกหรือเป็นทหารของเจือง มีความสอดคล้องกับบทลำของเผ่าโอยบ้านละยาว ที่ลำเจืองในโอกาสสำคัญ เช่น บุญปีใหม่ การขึ้นบ้านใหม่ (ตุ้มสหวัน เลียวเฮียงสี. 2553 : สัมภาษณ์) และท่านยังกล่าวว่า ชนเผ่าโอยดั่งเดิมอาศัยอยู่บริเวณเมืองอัตตะปือและมีจำนวนมากอยู่บริเวณเขตตีนภูตีนเขา เช่นอยู่อาศัยบริเวณเมืองสนามชัย เมืองไชยเชษฐา และเมืองสามัคคีชัย
.
อย่างไรก็ตาม รองประธานแนวลาวสร้างชาติ แขวงอัตตะปือ ได้ให้ทัศนะต่อชนเผ่าโอยแตกต่างกันว่า คนเผ่าโอยเป็นคนทำเวียกงานด้วยความขยันขันแข็ง มีความสัตย์ซื่อ ไม่ชอบรบทับจับศึก ส่วนมากจะได้รับราชการเป็นเจ้าเป็นนายหลายคน เวลาพูดมักจะพูดค่อยๆ และมักจะถูกชนเผ่าอื่นกดขี่ ชนเผ่าโอยมักจะขึ้นไปอยูอาศัยที่ตีนภู และลงมาทำไร่ทำนาอยูที่บริเวณตีนภู เคยมีชนเผ่าอื่นไปลักขโมยเอาลูกของคนเผ่าโอย เอาไปเป็นขี้ข้ารับใช้ หรือลักเอาลูกไปขาย
.
และได้ให้ทัศนะเพิ่มเติมว่าสาเหตุที่คนทั่วไปเรียกชื่อเผ่าว่า “โอย” ่สืบเนื่องมาจากเวลาถูกเผ่าอื่นรังแกทำร้ายร่างกายเช่นเมื่อถูกเต๊ะตี ก็จะมีแต่ร้องโอยๆ (รองประธานแนวลาวสร้างชาติ. 2553 : สัมภาษณ์)
.
ส่วนชนเผาโอยที่บ้านละยาว นายบ้านกล่าวว่า แต่เดิมเผ่าโอยบ้านละยาวอาศัยอยู่บนภูเขาระ ต่อมาได้อพยพมาอาศัยอยูบริเวณตีนภูเขา และภายหลังได้พากันอพยพโยกย้ายเข้ามาตังบ้านเรือนอยู่พื้นที่ราบของบ้านละยาวในปัจจุบัน และอยู่รวมกันเป็นกลุ่มบ้าน ก็เพื่อความสะดวกในการดำรงชีวิต และการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกัน (นายบ้านคำนาดี. 2553 : สัมภาษณ์)
.
ชนเผ่าโอยมีประชากร 14,947 คน เป็นหญิง 7,682 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ของประชากรทั้งประเทศ (การสำรวจประชากรครั้งที่ 2 ปี1995)
.
โอย เป็นชื่อที่ใช้เรียกตนเองมาตั้งแต่อดีต และถือเป็นชื่อที่เป็นทางการมาจนถึงปัจจุบัน แต่ละหมู่บ้านจะมีชื่อเฉพาะของตนเองในแต่ละเขตพื้นที่ หรืออาจจะเป็นชื่อวงศ์ตระกูลหรือเครือญาติของชนเผ่าโดยเฉพาะ เช่น สะปวนฮอ, ลอก,กรึย, ดากกะยะ, ฮียาวกองฮาฮวย, ต่ำมอเลย ฮินดรี, จอเจิก และโฮย
.
คําวา “โอย” นั้น หมายถึงคน หรือเป็นเสียงร้องครวญครางจากการเจ็บป่วย รวมทั้งหมายถึงเสียงร้องโอยๆ ของคนขี้เกียจอีกด้วย
.
จากการบอกเล่าของสืบต่อกันมาของคนเฒ่าคนแก่ หรือผู้อาวุโสในแขวงอัตตะปือได้ข้อสรุปว่า ในจำนวน 22 หมู่บ้านของชนเผ่าโอยที่ขึ้นตรงต่อแขวงอัตตะปือ
ในปัจจุบันล้วนแล้วแต่มีประวัติความเป็นมาเฉพาะของตนเอง เช่น แต่ก่อนอาจจะตั้งภูมิลำเนาอยูที่หนองแส แล้วอพยพเคลื่อนย้ายมาอยูที่หลวงพระบาง ทุ่งไหหิน ทุ่งหลง ทุ่งหวาย รึงเงวลอกจร้อกเคลีย ตะมอกองใบ แคมเซเปี่ยน บางท่านก็ว่าชนเผ่าโอย ไปอยู่ทุ่งไหหินในฐานะเป็นเชลยศึกขุนเจือง บางท่านก็ว่าไปอยู่ในฐานะเป็นทหารเจือง
.
แต่ประวัติที่เป็นเอกภาพนั้นคือ ในจำนวนชนเผ่าโอย 22 หมู่บ้านล้วนแต่เคลื่อนย้านจากจากทุ่งไหหิน ทุ่งหลง ทุ่งหวาย เปิงภูหลวง และสุดท้ายก็ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะตามที่ดอนกลางทุ่งนา ปัจจุบันชนเผ่าโอยตั้งภูมิลำเนาอยู่ที่เมืองไชยเชษฐา สามัคคีไชย สนามไชย ในแขวงอัตตะปือ และอยู่เมืองปากช่อง แขวงจำปาสัก นอกจากอยู่ใน สปป.ลาว แล้วยังมีอยู่ที่กระแจะ เซียงแตง ประเทศกัมพูชา และในพื้นที่ภาคอีสานของประเทศไทย (สินไซ แก้วมณีวงศ์ และคณะ. 2548 : 201-205)
.
ส่วนท่านบุญไชย คำมณีวง ซึ่งเป็นอดีตประธานแนวลาวสร้างชาติ ของแขวงอัตตะปือ กล่าวว่า เนื้อแท้แล้วเผ่าโอยแต่ก่อนมีศึกท้าวเจือง มีความเจ็บปวดแสบ และสร้างบ้านเรือนอาศัยอยูตามเปิงภูหลวง อยู่ในถ้ำอยู่ในเหว แต่สมัยก่อนๆ มีความเจ็บปวด เนื่องจากไปรบแล้วหนีจากข้าศึก โดยเอาเชือกผูกดึงกันข้ามหนีข้ามแม่น้ำเซกอง ขณะพวกหนึ่งสามารถจับเชือกและข้ามน้ำไปได้แล้ว อีกพวกหนึ่งยังข้ามไปไม่ได้บังเอิญเชือกขาด เป็นเหตุให้พวกหนึ่งข้ามไปทำมาหากินอยูฝั่งกัมพูชา ส่วนพวกหนึ่งข้ามไม่ได้ ต้องอยูอาศัยตามภูตามเขา
.
และเป็นที่น่าสังเกตว่าจากสาระที่กล่าวว่าเผ่าโอยเคยเป็นเชลยศึกหรือเป็นทหารของเจือง มีความสอดคล้องกับบทลำของเผ่าโอยบ้านละยาว ที่ลำเจืองในโอกาสสำคัญ เช่น บุญปีใหม่ การขึ้นบ้านใหม่ (ตุ้มสหวัน เลียวเฮียงสี. 2553 : สัมภาษณ์) และท่านยังกล่าวว่า ชนเผ่าโอยดั่งเดิมอาศัยอยู่บริเวณเมืองอัตตะปือและมีจำนวนมากอยู่บริเวณเขตตีนภูตีนเขา เช่นอยู่อาศัยบริเวณเมืองสนามชัย เมืองไชยเชษฐา และเมืองสามัคคีชัย
.
อย่างไรก็ตาม รองประธานแนวลาวสร้างชาติ แขวงอัตตะปือ ได้ให้ทัศนะต่อชนเผ่าโอยแตกต่างกันว่า คนเผ่าโอยเป็นคนทำเวียกงานด้วยความขยันขันแข็ง มีความสัตย์ซื่อ ไม่ชอบรบทับจับศึก ส่วนมากจะได้รับราชการเป็นเจ้าเป็นนายหลายคน เวลาพูดมักจะพูดค่อยๆ และมักจะถูกชนเผ่าอื่นกดขี่ ชนเผ่าโอยมักจะขึ้นไปอยูอาศัยที่ตีนภู และลงมาทำไร่ทำนาอยูที่บริเวณตีนภู เคยมีชนเผ่าอื่นไปลักขโมยเอาลูกของคนเผ่าโอย เอาไปเป็นขี้ข้ารับใช้ หรือลักเอาลูกไปขาย
.
และได้ให้ทัศนะเพิ่มเติมว่าสาเหตุที่คนทั่วไปเรียกชื่อเผ่าว่า “โอย” ่สืบเนื่องมาจากเวลาถูกเผ่าอื่นรังแกทำร้ายร่างกายเช่นเมื่อถูกเต๊ะตี ก็จะมีแต่ร้องโอยๆ (รองประธานแนวลาวสร้างชาติ. 2553 : สัมภาษณ์)
.
ส่วนชนเผาโอยที่บ้านละยาว นายบ้านกล่าวว่า แต่เดิมเผ่าโอยบ้านละยาวอาศัยอยู่บนภูเขาระ ต่อมาได้อพยพมาอาศัยอยูบริเวณตีนภูเขา และภายหลังได้พากันอพยพโยกย้ายเข้ามาตังบ้านเรือนอยู่พื้นที่ราบของบ้านละยาวในปัจจุบัน และอยู่รวมกันเป็นกลุ่มบ้าน ก็เพื่อความสะดวกในการดำรงชีวิต และการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกัน (นายบ้านคำนาดี. 2553 : สัมภาษณ์)
.
ชนเผ่าโอยมีประชากร 14,947 คน เป็นหญิง 7,682 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ของประชากรทั้งประเทศ (การสำรวจประชากรครั้งที่ 2 ปี1995)
01.2 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.3 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.4 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.5 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.6 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.7 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.8 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.9 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.10 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.11 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
01.12 แขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาชนลาว.
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น